
ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย: เศรษฐศาสตรบัณฑิต
ภาษาอังกฤษ: Bachelor of Economics
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ภาษาไทยชื่อเต็ม: เศรษฐศาสตรบัณฑิต
ชื่อย่อ: ศ.บ.
ภาษาอังกฤษชื่อเต็ม: Bachelor of Economics
ชื่อย่อ: B. Econ.
คำอธิบายรายวิชา
มศว 111 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5)
ศึกษาองค์ประกอบการสื่อสารและกลวิธีการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การเขียนพรรณนา
ความ สรุปความ ย่อความ ขยายความ และการสังเคราะห์ความคิดเพื่อการสื่อสารฝึกปฏิบัติการใช้ภาษาเพื่อสื่อสารในสถานการณ์ต่าง ๆ ด้วยกระบวนการเรียนรู้ท่หีลากหลาย
มศว 112 วรรณกรรมไทยปริทรรศน์ 3(2-2-5)
ศึกษากระบวนการคิด การถ่ายทอดความรู้ ภูมิปัญญา คุณค่าของภาษาและความเป็นไทย
ในงานวรรณกรรม ทั้งนี้โดยเลือกศึกษาจากวรรณกรรมในอดีต ร่วมสมัย ร้อยแก้วหรือร้อยกรอง ด้วยกระบวนการเรียนรู้ท่หีลากหลาย
มศว 121 ภาษาอังกฤษเพื่อประสิทธิภาพการสื่อสาร 1 3(2-2-5)
พัฒนาทักษะทางด้านภาษาเพื่อการสื่อสารในยุคโลกาภิวัตน์ โดยเรียนรู้ เข้าใจ และฝึก
ทักษะภาษาด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน และคา ศัพท์ในชีวิตประจำวัน ด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายทั้งในและนอกห้องเรียน ส่งเสริมการเรียนรู้แบบพึ่งพาตน นำภาษาอังกฤษไปใช้ในการสื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ และเป็นพื้นฐานในการพัฒนาการเรียนรู้ภาษาต่อไป
มศว 122 ภาษาอังกฤษเพื่อประสิทธิภาพการสื่อสาร 2 3(2-2-5)
พัฒนาทักษะด้านภาษาและกระบวนการเรียนรู้เพื่อการสื่อสารในยุคโลกาภิวัตน์ โดยฝึก
ทักษะภาษาด้านการฟัง พูด อ่าน และเขียน ด้วยส่ือกระบวนการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศท่ี
หลากหลาย ส่งเสริมการเรียนรู้แบบพึ่งพาตน สนับสนุนให้น าภาษาอังกฤษไปใช้ในการสร้างความร่วมมือในการเรียนรู้และเป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
มศว 123 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารนานาชาติ 1 3(2-2-5)
พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน และด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาน
เรียนรู้ภาษาอังกฤษในฐานะท่ีเป็นภาษานานาชาติเพ่ือพัฒนาความสามารถทางด้านภาษาผ่านส่ือและกระบวนการเรียนรู้ท่หีลากหลายท้งัในและนอกห้องเรียน เรียนรู้วิธีการน าความรู้และกระบวนการเรียนรู้ภาษาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันและในการศึกษา เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และเพื่อพัฒนาตนให้เป็นส่วนหนึ่งของสังคมไทยและสังคมโลก
มศว 124 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารนานาชาติ 2 3(2-2-5)
พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน และด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
เพ่ิมพูนทักษะและประสบการณ์การส่ือสารภาษาอังกฤษในฐานะท่ีเป็นภาษานานาชาติ พัฒนาการ
น าเสนอข้อมูลและความคิดส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษผ่านสื่อและกระบวนการเรียนรู้ท่ี
หลากหลายทั้งในและนอกห้องเรียน น าความสามารถทางภาษาและการจัดการกระบวนการเรียนรู้มาประยุกต์ใช้ส าหรับการพัฒนาตนให้เป็นผู้เรียนภาษาแบบยั่งยืน
มศว 141 ทักษะการรู้สารสนเทศ 3(2-2-5)
ศึกษาความส าคัญของระบบและกระบวนการสื่อสาร พัฒนาทักษะในการสืบค้นและ
อ้างอิงข้อมูล การใช้ซอฟท์แวร์ต่าง ๆ และการจัดการความรู้จากเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ตลอดจนฝึกทักษะการน าเสนอข้อมูลสารสนเทศ โดยตระหนักในจรรยาบรรณ ผลกระทบท่ีมีต่อบุคคลและสงัคม รวมท้งักฎหมายท่เีก่ยีวข้อง
มศว 142 วิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม 3(2-2-5)
ศึกษากระบวนการคิดทางวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ และเทคโนโลยี ศึกษา
ระบบนิเวศวิทยาเพื่อให้เข้าใจถึงความส าคัญของการอยู่ร่วมกันอย่างสมดุลรวมทั้งศึกษาผลกระทบของความเจริญทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีมีต่อสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ เพื่อปลูกฝังให้ตระหนักถึงความส าคัญของธรรมชาติสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และสันติสุขอย่างยั่งยืน
มศว 143 พลังงานทางเลือก 3(2-2-5)
ศึกษาผลกระทบจากการใช้พลังงานกระแสหลักท่ีเก่ียวข้องกับปรากฏการณ์โลกร้อน ภาวะ
เรือนกระจก และความไม่ยั่งยืนทางเศรษฐกิจ ความหมายและความส าคัญของการใช้พลังงานทางเลือก การปรับระบบคิดหรือกระบวนทัศน์ท่ีมีต่อการจัดการพลังงานให้มีความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความยั่งยืนหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 25
ของชุมชน มากกว่าเป้ าหมายทางเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียว การสร้างภูมิคุ้มกันให้เกิดขึ้นในระบบพลังงานการสร้างภมู ิปัญญาและเทคโนโลยีในการใช้ทรัพยากรท่มีีอยู่ในท้องถ่ิน เพ่ือส่งผลต่อการดา เนินชีวิตท่สีันติสุข
และยั่งยืน
มศว 144 คณิตศาสตร์ในชีวิตประจ าวัน 3(2-2-5)
ศึกษาคณิตศาสตร์กับการใช้เหตุผล ความรู้ทางสถิติ คณิตศาสตร์ส าหรับผู้บริโภค
คณิตศาสตร์กับศิลปะ คณิตศาสตร์กับการแก้ปัญหาในชีวิตประจ าวัน และเป็นฐานความคิดในเชิงตรรกะและเหตุผล การเรียนรู้และการด ารงชีวิตในสังคม
มศว 145 สุขภาวะและวิถีชีวิตเชิงสร้างสรรค์ 3(2-2-5)
ศึกษาหลักการและแนวคิดของสุขภาวะแบบองค์รวม การบูรณาการแนวคิดดังกล่าวเข้า
กับวิถีชีวิต โดยเน้นการสร้างเสริมศักยภาพส่วนบุคคลของนิสิต ให้สามารถพัฒนาสมรรถภาพทางกายและคุณภาพชีวิตของตนเอง ตลอดจนเลือกใช้วิถีชีวิตในเชิงสร้างสรรค์ได้อย่างเหมาะสมกับบริบททางสังคม
มศว 151 การศึกษาทั่วไปเพื่อพัฒนามนุษย์ 3(2-2-5)
ศึกษาความหมาย ความส าคัญ และคุณค่าของวิชาศึกษาทั่วไป ทั้งทางด้านมนุษยศาสตร์
สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ศาสตร์และศิลป์ โดยเน้นการพัฒนาศักยภาพการรับรู้และการสื่อสาร การ
แสวงหาความรู้ การพัฒนาจิตใจ การพัฒนาเชาว์ปัญญา ให้สามารถ คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และแสวงหาแนวทางในการแก้ปัญหา เพ่ือให้ผู้เรียนเป็นบัณฑติ ท่มีีคุณภาพ
มศว 251 มนุษย์กับสังคม 3(2-2-5)
ศึกษาความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกับมนุษย์และสังคม ท้ังสังคมไทยและสังคมโลก โดยมุ่งให้
ผู้เรียนมีความเข้าใจในพฤติกรรมของมนุษย์ และน าความรู้มาพัฒนาตนเองให้รู้เท่าทันสังคม มีความ
รับผิดชอบ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีคุณธรรมจริยธรรม ซาบซึ้งในวัฒนธรรม ศิลปะ และอารยธรรม
ของมนุษย์มีจิตสา นึกในการอยู่ร่วมกันในสังคมและธรรมชาติส่ิงแวดล้อมอย่างสันติตระหนักในหน้าท่ี
รับผิดชอบและบทบาทท่พีึงมีในฐานะพลเมืองและสมาชิกของสงัคม
มศว 252 สุนทรียศาสตร์เพื่อชีวิต 3(2-2-5)
ศึกษาแนวคิดทางด้านสนุ ทรียศาสตร์แสวงหาประสบการณ์และคุณค่าของสุนทรียะท่มีีต่อ
การดา รงชีวิต ศึกษาสุนทรียศาสตร์ในเชิงบูรณาการ ท้งัท่ีเก่ียวข้องกับธรรมชาติศิลปะ การแสดง ดนตรีวรรณกรรม สุนทรียะท่ีผสานสัมพันธ์กับบริบทสังคม วัฒนธรรม ธรรมชาติส่ิงแวดล้อม โดยมุ่งเน้น
กระบวนการเรียนรู้ส่อืและประสบการณ์ท่หีลากหลาย
มศว 341 วิทยาศาสตร์ฟิ สิกส์ กฎของธรรมชาติ พลังงาน และจิต 3(2-2-5)
ศึกษาความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ฟิสกิสท์ ่เีป็นความจริงของธรรมชาติเช่น ทฤษฎีของกาลิเลโอ
กฏของนิวตัน ทฤษฎีของไอน์สไตน์ ทฤษฎีสสาร-พลังงาน ทฤษฎีสัมพันธภาพ ทฤษฎีฟิ สิกส์ควอนตั้มทฤษฎีเทอร์โมไดนามิกส์ น าไปสู่ความเข้าใจเรื่องของกฎของธรรมชาติ พลังงาน และความจริงแท้ของจิต
มศว 351 การพัฒนาบุคลิกภาพ 3(2-2-5)
ศึกษาและพัฒนาบุคลิกภาพท้งัท่เีป็นรูปธรรมและนามธรรม เพ่ือการดา เนินชีวิตท่ดีีงามมี
วินัย รู้กาลเทศะ ทั้งในโลกส่วนตัว ครอบครัว ชุมชนและสังคม ท่ามกลางขนบธรรมเนียม ประเพณี
วัฒนธรรมความเป็นไทยท่ามกลางกระแสสังคมโลก ด้วยส่ือและกระบวนการเรียนรู้และประสบการณ์ท่ี
หลากหลาย
มศว 352 ปรัชญาและกระบวนการคิด 3(2-2-5)
ศึกษาแนวคิดและปรัชญา ปรัชญาในเชิงบูรณาการ ทั้งกระแสตะวันออกและตะวันตก
พัฒนาการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ปรัชญาท่ีเป็นกระบวนการคิดท่ีสัมพันธ์กับชีวิต สังคม ธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อม เพื่อการด าเนินชีวิตท่ดีีงาม มีเหตุผล มีอุดมการณ์มีคุณธรรมจริยธรรม
มศว 353 มนุษย์กับการใช้เหตุผลและจริยธรรม 3(2-2-5)
ศึกษาการใช้เหตุผลและจริยธรรม สร้างเสริมให้เป็ นผู้ใฝ่ รู้ความจริง และคิดอย่างมี
เหตุผล ตลอดจนเป็นผู้มีคุณธรรมจริยธรรม เหตุผลจริยธรรมท่ีเก่ียวข้องกับตนเอง ผู้อ่ืน และบริบทท่ี
เก่ยีวข้อง ด้วยส่อืและกระบวนการเรียนรู้ท่หีลากหลาย
มศว 354 มนุษย์กับสันติภาพ 3(2-2-5)
ศึกษาแนวคิดเก่ยีวกบัสนั ติภาพและการจัดการความขัดแย้งในชีวิตครอบครัวชุมชน สังคม
ศึกษาหลักสันติธรรมจากศาสนา ปรัชญา ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี
มศว 355 พุทธธรรม 3(2-2-5)
ศึกษาภูมิปัญญาและกระบวนการคิดจากพุทธธรรมท่ีเก่ียวข้องกับการด ารงชีวิต การ
พัฒนาคุณภาพชีวิตบนฐานพุทธธรรม ทั้งในเชิงวิทยาศาสตร์ ปรัชญา และศาสนา เพื่อเป็นแนวทางไปสู่การดา เนินชีวิตท่มีีศีลธรรมจรรยา มีระเบียบวินัยและสันติสุข
มศว 356 วรรณกรรมและพลังทางปัญญา 3(2-2-5)
ศึกษาแนวคิด คุณค่า และสุนทรียะจากวรรณกรรมหลากรูปแบบโดยเน้นการศึกษาในเชิง
คิด วิเคราะห์ท่กี่อให้เกิดพลังปัญญา พลังจินตนาการ และพลังในการดา เนินชีวิต อันจะช่วยพัฒนาการด าเนินชีวิตท่ดีีงาม มีระเบียบวินัยและอุดมการณ์
มศว 357 ศิลปะและความคิดสร้างสรรค์ 3(2-2-5)
ศึกษา ค้นคว้าเก่ียวกับพลังความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการท่กี่อให้เกิดความงามและ
สุนทรียะในงานศิลปะนานาประเภท ในบริบทวัฒนธรรมท่ีหลากหลาย อันจะน าไปสู่การสร้างสรรค์ใน
ชีวิตประจา วัน ท้งัน้ีโดยใช้กระบวนการเรียนรู้และส่อืท่หีลากหลาย
มศว 358 ดนตรีและจิตวิญญาณมนุษย์ 3(2-2-5)
ศึกษาและแสวงหาประสบการณ์ทางด้านดนตรีท่ีกว้างและหลากหลาย ดนตรีจากอดีต
และร่วมสมัยดนตรีตะวันออกและตะวันตก ดนตรีไทย ดนตรีพ้ืนบ้าน ดนตรีท่พี ัฒนาจากอดีตกาล ดนตรีในบริบทของวัฒนธรรม ด้วยส่อืและกระบวนการเรียนรู้ท่หีลากหลาย
มศว 361 ประวัติศาสตร์และพลังขับเคลื่อนสังคม 3(2-2-5)
ศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ไทยและประวัติศาสตร์สากล ท่ี
พัฒนาจากกระบวนการคิดของมนุษย์ประวัติศาสตร์ท่ีเป็นพลังขับเคล่ือนสังคม ประวัติศาสตร์การเมือง
สังคม เศรษฐกิจ ศิลปวัฒนธรรม
มศว 362 มนุษย์กับอารยธรรม 3(2-2-5)
ศึกษาและเปรียบเทียบวิวัฒนาการอารยธรรมตะวันตกและตะวันออก ตั้งแต่ยุคโบราณถึง
ปัจจุบัน ตลอดจนการแพร่ขยายและการถ่ายทอดแลกเปล่ียนอารยธรรมในดินแดนต่าง ๆ ซ่ึงมีผลต่อ
สภาพการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของโลกปัจจุบัน รวมท้งัการศึกษาในส่วนท่เีก่ียวกับอารยธรรมไทย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอารยธรรมโลก
มศว 363 มนุษย์กับการเมือง 3(2-2-5)
ศึกษาธรรมชาติของสังคมมนุษย์และสังคมการเมือง การจัดระเบียบทางการเมือง องค์กรที่ใช้อานาจการปกครอง การรวมกลุ่มทางการเมือง กระบวนการทางการเมือง พฤติกรรมและพลวัตทางการเมือง การบริหารงานของรัฐ โดยเน้นระบบการเมือง การปกครอง และกฎหมายที่มีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ มนุษย์ที่มีคุณธรรมจริยธรรม
มศว 364 เศรษฐกิจในกระแสโลกาภิวัฒน์ 3(2-2-5)
ศึกษาพื้นความรู้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สภาพเศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคตที่มีผลกระทบต่อการดาเนินชีวิต ตลอดจนบทบาทและความสัมพันธ์ขององค์กรธุรกิจที่มีผลต่อการดารงชีวิตประจาวัน
มศว 365 หลักการจัดการสมัยใหม่ 3(2-2-5)
ศึกษาแนวคิดและหลักการจัดการ ทฤษฎีการจัดการสมัยใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการองค์กร การจัดการทรัพยากรขององค์กร ประเด็นต่างๆที่น่าสนใจเกี่ยวกับแนวโน้มใน การจัดการสมัยใหม่ การจัดการที่เกี่ยวข้องกับคน ภาวะผู้นา การพัฒนาองค์กร และการพัฒนาสังคมที่ก้าวหน้าและสันติสุข
มศว 366 จิตวิทยาสังคม 3(2-2-5)
ศึกษาจิตวิทยาพื้นฐานทางชีววิทยาของพฤติกรรมของมนุษย์ พฤติกรรมสังคม ตัวแปรต่างๆทางสังคมที่ทาให้เกิดพฤติกรรม และสภาวะทางจิตของมนุษย์ โครงสร้างทางสังคม กระบวนการต่างๆทางสังคม เจตคติ การรับรู้ทางสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ความก้าวร้าว พฤติกรรมและบทบาททางเพศ และการสื่อสาร การโฆษณาชวนเชื่อ และแนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางสังคม
มศว 367 กฎหมายทั่วไป 3(2-2-5)
ศึกษาวิวัฒนาการของกฎหมาย ลักษณะของกฎหมาย ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับศีลธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณี ประเภท ลาดับชั้น และหมวดหมู่ของกฎหมาย กฎหมายสาคัญที่จาเป็นต้องรู้ในการดาเนินชีวิต โดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ และสื่อที่หลากหลาย
มศว 371 ความคิดสร้างสรรค์กับนวัตกรรม และเทคโนโลยี 3(2-2-5)
ศึกษาค้นคว้าและฝึกปฏิบัติกระบวนการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการต่าง ๆ การจัดการภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อนาไปสู่การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีชุมชนซึ่งเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม วิศวกรรม ศิลปหัตถกรรม ธุรกิจชุมชน ความสัมพันธ์กับชุมชนและสิ่งแวดล้อม โดยเน้นกระบวนการเรียนรู้และ สื่อที่หลากหลาย
มศว 372 ภูมิปัญญาท้องถิ่น 3(2-2-5)
ศึกษาและค้นคว้าภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาชุมชน ภูมิปัญญาที่เกิดจากกระบวนการคิด การเรียนรู้ การพัฒนาด้วยการกระทาและปฏิสัมพันธ์ในชุมชน ภูมิปัญญาในการดารงชีวิตร่วมกับผู้อื่น ภูมิปัญญาในการอยู่ร่วมกับธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ภูมิปัญญาในการแสวงหาคุณค่าและตัวตนในความเป็นมนุษย์ โดยเน้นกระบวนการเรียนรู้และสื่อที่หลากหลาย
มศว 373 ภูมิลักษณ์ชุมชน 3(2-2-5)
ศึกษาค้นคว้าเพื่อพัฒนาภูมิลักษณ์ชุมชน ภูมิลักษณ์ที่แสดงความเป็นท้องถิ่น ลักษณะเฉพาะ และความผสานสัมพันธ์ในชุมชนในบริบทของพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ พื้นที่ทางวัฒนธรรม และพื้นที่ทางชาติพันธุ์ บนฐานของคุณธรรม จริยธรรม และความดีงาม โดยเน้นกระบวนการเรียนรู้และสื่อที่หลากหลาย
มศว 374 สัมมาชีพเพื่อชุมชน 3(2-2-5)
ศึกษาค้นคว้าและพัฒนาสัมมาชีพในชุมชน เพื่อสร้างสัมมาชีพที่เข้มแข็ง ปลูกฝัง สร้างสานึก และสร้างความตระหนักในศักดิ์ศรีชุมชน สัมมาชีพที่ผูกพันและเคารพในธรรมชาติสิ่งแวดล้อม สันติสุข คุณความดี ศิลปวัฒนธรรม และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยเน้นกระบวนการเรียนรู้และสื่อที่หลากหลาย
มศว 375 ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการชุมชน 3(2-2-5)
ศึกษาค้นคว้า ปลูกฝังแนวคิด และการปฏิบัติธรรมาภิบาลการบริหารจัดการชุมชน บริหารจัดการบนความถูกต้องและนิติธรรม ความโปร่งใสเชื่อถือได้ การอธิบายตรวจสอบได้ การมีส่วนร่วม การรับผิดชอบต่อบทบาทและหน้าที่เพื่อกานพัฒนาตนเอง ครอบครัว และชุมชนให้เข้มแข็งและยั่งยืน โดยเน้นกระบวนการเรียนรู้และสื่อที่หลากหลาย
รฐ 111 รัฐศาสตร์เบื้องต้น 3(3-0-6)
ศึกษาเกี่ยวกับความหมายของรัฐศาสตร์ วิวัฒนาการและขอบเขตของวิชารัฐศาสตร์ แนวการศึกษาทางรัฐศาสตร์ สาขาและเนื้อหาในรัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐศาสตร์กับศาสตร์สาขาอื่น รัฐและอานาจอธิปไตย สถาบันทางการเมือง กระบวนการทางการเมือง รวมทั้งพฤติกรรมทางการเมือง
รฐ 113 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย 3(3-0-6)
ศึกษาลักษณะทั่วไปของกฎหมาย ประเภทกฎหมาย การจัดทากฎหมายลายลักษณ์อักษร การใช้กฎหมาย การตีความกฎหมาย การอุดช่องว่างแห่งกฎหมาย การยกเลิกกฎหมายบุคคลธรรมดา นิติบุคคล ประเภทสิทธิ การได้สิทธิ การใช้สิทธิ การสงวนสิทธิ การคุ้มครองสิทธิ การโอนสิทธิ การเสียสิทธิ และการระงับซึ่งสิทธิ
บธบ 121 หลักการบัญชี 3(3-0-6)
ศึกษาความหมาย วัตถุประสงค์ของการจัดทาบัญชี และประโยชน์ของข้อมูลทางการบัญชี แม่บททางการบัญชี หลักการและขั้นตอนในการจัดทาบัญชีตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป การจัดทางบทดลอง กระดาษทาการ งบการเงินสาหรับกิจการให้บริการและกิจการซื้อขายสินค้า ระบบใบสาคัญ และระบบเงินสดย่อย
ศฐ 111 เศรษฐศาสตร์พื้นฐาน 2(2-0-4)
ศึกษาแนวคิดพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ในระดับจุลภาคและมหภาค ทั้งคาจากัดความ ความสาคัญ และประเด็นปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
ศฐ 112 ภาษาอังกฤษสาหรับนักเศรษฐศาสตร์ 1 2(2-0-4)
ศึกษาหลักการอ่านและฝึกการอ่านตารา เอกสารและบทความทางเศรษฐศาสตร์
ศฐ 121 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 3(3-0-6)
ศึกษาแนวคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาคขั้นต้นที่ว่าด้วย กลไกราคา ปัจจัยที่กาหนดอุปสงค์และอุปทานของสินค้าและบริการ ทฤษฎีเบื้องต้นเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค ทฤษฎีการผลิต ต้นทุนการผลิต และดุลยภาพของหน่วยผลิตในตลาดที่มีการแข่งขันสมบูรณ์และไม่สมบูรณ์ การตั้งราคาในตลาดสินค้าและบริการรวมทั้งในตลาดปัจจัยการผลิต
ศฐ 131 คณิตเศรษฐศาสตร์ 1 3(2-2-5)
ศึกษาระบบจานวนจริงและฟังก์ชัน เมตริกซ์และตัวกาหนด เรขาคณิตวิเคราะห์ อนุพันธ์ อินทิกรัล ความสัมพันธ์ระหว่างฟังก์ชันรวม ฟังก์ชันเฉลี่ย และฟังก์ชันส่วนเพิ่ม การวิเคราะห์ค่าความยืดหยุ่น การหาค่าสูงสุดและต่าสุดในกรณีที่มีข้อจากัด โปรแกรมเชิงเส้น รวมทั้งการประยุกต์หลักคณิตศาสตร์กับแนวคิดและทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาคและมหภาค
ศฐ 201 ธุรกิจเบื้องต้น 2(2-0-4)
ศึกษาแนวความคิดพื้นฐานเกี่ยวกับธุรกิจ การจัดการ การตลาด ทรัพยากรมนุษย์ และนโยบายและการจัดการการเงิน หลักการพื้นฐานด้านจริยธรรมทางธุรกิจ สาระสาคัญของการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งมาตรการและกฎหมายพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารธุรกิจ
ศฐ 212 ภาษาอังกฤษสาหรับนักเศรษฐศาสตร์ 2 2(2-0-4)
ศึกษาและฝึกฝนหลักการเขียนรายงานในประเด็นทางเศรษฐศาสตร์ รวมทั้งจดหมายสมัครงานและจดหมายแนะนาตัวอย่างเป็นระบบและถูกต้องตามหลักการเขียนและไวยกรณ์
ศฐ 221 เศรษฐศาสตร์จุลภาคขั้นกลาง 4(4-0-8)
ศึกษาทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาค โดยใช้เครื่องมือทางคณิตศาสตร์ มาอธิบายในเรื่องพฤติกรรมผู้บริโภค ความพอใจแบบเปิดเผยและทฤษฎีการบริโภคภายใต้ความเสี่ยง การผลิตและต้นทุน แบบจาลองในตลาดสินค้าต่าง ๆ ทฤษฎีเกม ตลาดปัจจัยการผลิต ดุลยภาพทั่วไปและเศรษฐศาสตร์สวัสดิการ ผลกระทบภายนอกและความล้มเหลวของตลาด ความไม่สมมาตรของข้อมูลข่าวสาร สินค้าสาธารณะ
ศฐ 222 เศรษฐศาสตร์มหภาค 3(3-0-6)
ศึกษาแนวคิดและวิธีการทางเศรษฐศาสตร์ที่ว่าด้วยธุรกรรมทางเศรษฐกิจ กระแสการไหลเวียนในระบบเศรษฐกิจ การกาหนดรายได้ประชาชาติ บัญชีรายได้ประชาชาติ ทฤษฎีว่าด้วยการบริโภคและการลงทุน การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพรายได้ประชาชาติ ตัวแปรเศรษฐกิจมหภาค ตลาดเงิน อุปสงค์หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 36 และอุปทานของเงิน เงินเฟ้อและเงินฝืด การว่างงาน ดุลการชาระเงิน นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง และการดาเนินธุรกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
ศฐ 223 ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ 3(3-0-6)
ศึกษาวิวัฒนาการของโครงสร้างทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง การวิเคราะห์ปัญหาของระบบเศรษฐกิจโลกนับแต่ศตวรรษที่ 14 จนถึงปัจจุบันโดยเน้นประวัติศาสตร์เศรษฐกิจเปรียบเทียบของยุโรปและเอเชีย และการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลก ตลอดจนบทบาทของทุน ผู้ประกอบการ แรงงาน บรรษัทข้ามชาติและเทคโนโลยีที่มีผลต่อโครงสร้างการพัฒนาประเทศรวมทั้งประเทศอุตสาหกรรมใหม่ในเอเชีย
ศฐ 231 คณิตเศรษฐศาสตร์ 2 3(2-2-5)
ศึกษาเครื่องมือทางคณิตศาสตร์ในด้านเมทริกซ์ และตัวกาหนดแบบต่าง ๆ ตัวกาหนดจาโกเบียน เฮชเชียน โบเดอร์เฮชเชียน ฯลฯ เพื่อให้เข้าใจแนวคิดและทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์เชิงสถิต ทฤษฎีพฤติกรรมของผู้บริโภค ทฤษฎีการผลิต ดุลยภาพของรายได้ประชาชาติในตลาดสินค้าและตลาดเงิน การค้าระหว่างประเทศ การวิเคราะห์ดุลยภาพสถิตเชิงเปรียบเทียบ แบบจาลองปัจจัยและผลผลิต เป็นต้น และนา สมการเชิงอนุพันธ์และสมการผลต่างสืบเนื่อง มาอธิบายเศรษฐศาตร์เชิงพลวัต
ศฐ 232 สถิติเศรษฐศาสตร์ 1 3(2-2-5)
ศึกษาเกี่ยวกับตัวแปรสุ่ม ชนิดและประเภทของตัวแปรสุ่ม การแจกแจงตัวแปรสุ่มชนิดไม่ต่อเนื่องและชนิดต่อเนื่องแบบต่างๆ และการแจกแจงตัวอย่าง การประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐาน ศึกษา การทดสอบ ไคสแควร์ การวิเคราะห์ความแปรปรวน วิธีการนอนพาราเมทริกซ์ ทฤษฎีความน่าจะเป็น วิธีการคานวณและการใช้เลขดัชนีแบบต่างๆ การวิเคราะห์อนุกรมเวลาเบื้องต้น
ศฐ 312 ภาษาอังกฤษสาหรับนักเศรษฐศาสตร์ 3 2(1-2-2)
ศึกษาหลักการพูด ฝึกสนทนาและอภิปรายประเด็นที่น่าสนใจทางเศรษฐกิจรวมทั้งฝึกการนาเสนอผลงานทางวิชาการ
ศฐ 314 กฎหมายสาหรับนักเศรษฐศาสตร์ 2(2-0-4)
ศึกษาประเด็นพื้นฐานทางกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ กฎหมายธุรกิจ กฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายตลาดหลักทรัพย์ กฎหมายมหาชน กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา ฯลฯ
ศฐ 315 การบัญชีรัฐบาล 3(3-0-6)
ศึกษาวัตถุประสงค์ ลักษณะ และหลักปฏิบัติเกี่ยวกับการบัญชีของรัฐบาล การบัญชีของส่วนราชการทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค รายงานทางบัญชี การจัดสรรทุน และการวัดผลการดาเนินงานภาครัฐ
ศฐ 322 เศรษฐศาสตร์มหภาคขั้นกลาง 4(4-0-8)
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตลาดผลผลิต ตลาดการเงิน ตลาดทุน รวมทั้งตลาดปัจจัยการผลิต ในการกาหนดดุลภาพทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ การวิเคราะห์ในเชิงสถิต (Static) เชิงสถิตเปรียบเทียบ (Comparative Statics) และเชิงพลวัต (Dynamics) การเปลี่ยนแปลงในองค์ประกอบของอุปสงค์มวลรวม และอุปทานมวลรวม วัฎจักรธุรกิจ การใช้นโยบายการเงินการคลัง และการค้า รวมทั้งผลกระทบของนโยบายดังกล่าวที่มีต่อระบบเศรษฐกิจ
ศฐ 323 ประวัติแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ 3(3-0-6)
ศึกษาวิวัฒนาการของแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ โดยเน้นแนวคิดของนักเศรษฐศาสตร์ตั้งแต่ยุคคลาสสิก นีโอคลาสสิก เคนส์เซียน สังคมนิยม และนักเศรษฐศาสตร์หลังจากเคนส์ และเศรษฐศาสตร์สถาบัน รวมถึงศึกษาระบบเศรษฐศาสตร์เปรียบเทียบสาหรับประเทศกาลังพัฒนาและแนวคิดเศรษฐศาสตร์ สถาบันร่วมสมัยอื่นๆ
ศฐ 332 สถิติเศรษฐศาสตร์ 2 3(2-2-5)
ศึกษาการวิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลา การตรวจสอบข้อมูลอนุกรมเวลาด้วยเครื่องมือต่าง ๆ MA, AR, ARMA, unit roots, ARIMA ฯลฯ รวมทั้งการใช้โปรแกรมสาเร็จรูปในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
ศฐ 333 เศรษฐมิติเบื้องต้น 4(4-0-8)
ศึกษาแบบจาลองการถดถอยอย่างง่ายและพหุคูณ รวมทั้งศึกษาปัญหาทางเศรษฐมิติที่สาคัญ Multicollinearity, Autocorrelation, Heteroscedasticity, และ Specification error วิธีประมาณค่าพารา มิเตอร์ในแบบจาลองที่มีตัวแปรอิสระเป็นตัวแปรเชิงคุณภาพ และ การสร้างแบบจาลองทางเศรษฐกิจในรูปแบบของระบบสมการไซมัลเทเนียสอย่างง่าย การพยากรณ์โดยใช้แบบจาลองทางเศรษฐมิติ
ศฐ 341 เศรษฐศาสตร์สาธารณะ 3(3-0-6)
ศึกษาแนวคิดดุลยภาพทั่วไป ความล้มเหลวของกลไกตลาด ความจาเป็นที่รัฐต้องแทรกแซง รูปแบบของการแทรกแซง และทฤษฎีเกี่ยวกับรายรับและรายจ่ายของรัฐบาล การจัดทา และการวิเคราะห์งบประมาณ และหนี้สาธารณะ นโยบายการคลังของรัฐบาลและผลกระทบของการใช้นโยบาย การประยุกต์แนวคิดเศรษฐศาสตร์สวัสดิการทั้งสวัสดิการแบบพาเรโตชนิด First Best Solution และ Second Best Solution
ศฐ 342 เศรษฐศาสตร์การพัฒนา 3(3-0-6)
ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะโครงสร้างทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศกาลังพัฒนา แนวคิดและการวัดการพัฒนาเศรษฐกิจ ทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจร่วมสมัย อาทิ แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจที่เน้นความเจริญเติบโตโดยสมดุลและไม่สมดุล ทฤษฎีและแบบจาลองของ Lewis, Harrod-Domar, Mahalanobis,ทฤษฎีโครงสร้างและการพึ่งพาการเปรียบการวางแผนและระบบราคาฯลฯ ตลอดจนเศรษฐศาสตร์ทางเลือก อาทิ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธเศรษฐศาสตร์สีเขียว เศรษฐกิจพอเพียง และการพัฒนาที่ยั่งยืน ฯลฯ
ศฐ 361 การเงินการธนาคาร 1 3(3-0-6)
ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีอุปสงค์ต่อเงิน อุปทานของเงิน การกาหนดอัตราดอกเบี้ย และการดาเนินนโยบายการเงินของธนาคารกลาง กฎของนโยบายการเงิน (Monetary policy rule) เพื่อรักษาเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อ (Inflation targeting) ของธนาคารแห่งประเทศไทย รวมทั้งบทบาทและหน้าที่ของตลาดหลักทรัพย์แห่ง และสถาบันประกันเงินฝาก ตลอดจนศึกษาสถาบันการเงิน โครงสร้าง และการดาเนินงานและบทบาทของตลาดเงินและตลาดทุน
ศฐ 371 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ 3(3-0-6)
ศึกษาทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศเบื้องต้นของนักเศรษฐศาสตร์สมัยคลาสสิก คลาสสิกใหม่ พาณิชยนิยมและทฤษฎีการค้าร่วมสมัย ตลอดจนศึกษานโยบายการค้าระหว่างประเทศ ศึกษาดุลการชาระเงินและกระบวนการปรับดุลการชาระเงินตลอดจนถึงตลาดเงินตราต่างประเทศ
ศฐ 411 ระเบียบวิธีวิจัยทางเศรษฐศาสตร์ 3(2-2-5)
ศึกษาวิธีการวิจัยอย่างมีระบบ ทั้งงานวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ พร้อมทั้งให้นิสิตฝึกปฏิบัติงานวิจัยทางเศรษฐศาสตร์ โดยศึกษานโยบายเศรษฐกิจเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล
ศฐ 441 เศรษฐศาสตร์การคลัง 3(3-0-6)
ศึกษาแนวคิดดุลยภาพทั่วไป (General equilibrium) ความล้มเหลวของกลไกลตลาด (Market failure) และบทบาทของรัฐบาลในการแก้ปัญหาความล้มเหลวของกลไกลตลาด ตลอดจนศึกษาแนวคิดและทฤษฏีเกี่ยวกับรายรับและรายจ่ายของรัฐบาล การจัดทาและการวิเคราะห์งบประมาณและหนี้สาธารณะ นโยบายการคลังของรัฐบาลและผลกระทบ
ศฐ 442 การบัญชีรายได้ประชาชาติ 3(3-0-6)
ศึกษาแนวความคิดพื้นฐานและวิธีการต่างๆ ในการทาบัญชีรายได้ประชาชาติดังต่อไปนี้ ลักษณะและการพัฒนาระบบบัญชีรายได้ประชาชาติ การทาบัญชี แหล่งที่มา ปัญหาต่างๆ ในการคานวณ ตลอดจนสถิติ รายได้ประชาชาติ บัญชีประเภทหลัก ตารางปัจจัยและผลผลิต (Input-Output Table) แหล่งที่มา ตลอดจนวิธีการในการประมาณค่ารายได้ประชาชาติของประเทศไทย
ศฐ 443 การคลังท้องถิ่น 3(3-0-6)
ศึกษาภาพรวมโครงสร้างองค์การปกครองของประเทศที่มีความเชื่อมโยงกับองค์การปกครองท้องถิ่น บทบาทหน้าที่ขอบข่ายความรับผิดชอบขององค์การปกครองท้องถิ่น เหตุผลความจาเป็นที่ต้องมีการกระจายอานาจจากส่วนกลางสู่ท้องถิ่น หลักการกระจายอานาจ แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการคลังท้องถิ่น ภาษีท้องถิ่นและรายได้อื่น งบประมาณท้องถิ่น วงจรงบประมาณ (budget cycle) การขับเคลื่อนประเด็นปัญหาเชิงนโยบาย (policy issues) และผลกระทบต่อการพัฒนานาทุกด้านของท้องถิ่น
ศฐ 444 การงบประมาณ 3(3-0-6)
ศึกษาหลักการงบประมาณ ประเภทงบประมาณ ระบบงบประมาณแผ่นดินทฤษฎีการกาหนดขนาดของงบประมาณ นโยบายและการบริหารงบประมาณทั้งแบบรวมศูนย์อานาจและการกระจายอานาจ ตลอดจนการวิเคราะห์ผลกระทบของงบประมาณแผ่นดิน
ศฐ 445 เศรษฐศาสตร์ภาษีอากร 3(3-0-6)
โครงสร้างและองค์ประกอบรายรับของรัฐบาล ศึกษาแนวคิดความลอยตัวของภาษี (Tax Buoyancy) ความยืดหยุ่นของภาษี ทฤษฎีการภาษีอากร เน้นหลักการจัดเก็บภาษี และการวิเคราะห์ผลกระทบของการจัดเก็บภาษีที่มีต่อการกระจายรายได้ และการจัดสรรทรัพยากรในระบบเศรษฐกิจ
ศฐ 446 นโยบายเศรษฐกิจ 3(3-0-6)
ศึกษาองค์กรและกระบวนการกาหนดนโยบายเศรษฐกิจ บทบาทสถาบันทางเศรษฐกิจและผลของการดาเนินนโยบายเศรษฐกิจทั้งที่เป็นนโยบายการเงิน นโยบายการคลังและนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศผลของโลกาภิวัตน์ต่อการแทรกแซงจากภายนอกต่อความเป็นอิสระทางเศรษฐกิจของประเทศ
ศฐ 447 เศรษฐศาสตร์การจัดการภาครัฐ 3(3-0-6)
ศึกษาบทบาทและความสาคัญภาครัฐในการจัดสรรทรัพยากร เหตุผลและความจาเป็นในการแทรกแซงของรัฐ ประสิทธิภาพและความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ ตรรกทางเศรษฐศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิการสังคมทางเลือกของสังคม และการบริหารเศรษฐกิจของประเทศ
ศฐ 448 การวิเคราะห์โครงการภาครัฐ 3(3-0-6)
ศึกษาความจาเป็นของการวิเคราะห์โครงการภาครัฐ ขั้นตอนการวิเคราะห์โครงการ ผลของนโยบายต่อประสิทธิภาพและความเป็นธรรมในสังคม รวมทั้งการวิเคราะห์ต้นทุนผลได้ของโครงการภาครัฐ และการตัดสินใจของสังคม
ศฐ 451 เศรษฐศาสตร์การเกษตร 3(3-0-6)
ศึกษาขอบเขตและความสาคัญของเศรษฐกิจการเกษตร โครงสร้างและการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจภาคเกษตรกรรม ลักษณะและผลของการพัฒนาเศรษฐกิจภาคเกษตรกรรม ปัญหาและอุปสรรค นโยบายในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจการเกษตร ตลอดจนแนวคิดเกษตรทางเลือก และเกษตรยั่งยืน
ศฐ 452 เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6)
ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อการผลิตและการค้าที่ยั่งยืน เศรษฐกิจการเมืองที่ส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การวิเคราะห์โครงการด้านสิ่งแวดล้อมและมลพิษ ตลอดจนการศึกษาและวิเคราะห์นโยบายด้านทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง
ศฐ 453 เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์ 3(3-0-6)
ศึกษาบทบาทและความสาคัญของทรัพยากรมนุษย์ในระบบเศรษฐกิจ แนวคิดและทฤษฏีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และทุนมนุษย์ การลงทุนในทรัพยากรมนุษย์ การวางแผนกาลังทรัพยากรมนุษย์ แนวคิดการจัดการประชากร ลักษณะโครงสร้าง องค์ประกอบ และการเปลี่ยนแปลงทางประชากร ความสัมพันธ์และผลกระทบที่มีต่อกันระหว่างประชากรและการพัฒนาเศรษฐกิจ ตลอดจนศึกษานโยบายประชากรที่มีความสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ
ศฐ 454 เศรษฐศาสตร์แรงงาน 3(3-0-6)
ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีของอุปสงค์และอุปทานของแรงงาน การกาหนดค่าจ้างในตลาดต่างๆ แรงงานสัมพันธ์ บทบาทของไตรภาคีในการกาหนดค่าจ้างและกฎหมายแรงงาน การเคลื่อนย้ายแรงงาน กรณีศึกษาวิเคราะห์และมาตรการแก้ไขปัญหาในตลาดแรงงาน
ศฐ 461 การเงินการธนาคาร 2 3(3-0-6)
ศึกษาบทบาทของเงินและเครดิตในระบบเศรษฐกิจ โดยเน้นถึงความสัมพันธ์ระหว่างเงินกับกระแสการใช้จ่าย รายได้และระดับราคา การเชื่อมโยงระหว่างการออมกับการลงทุนโดยผ่านตลาดการเงิน ทฤษฎีและนโยบายการเงิน ลักษณะและความสาคัญของสถาบันการเงินต่างๆ ในประเทศ พฤติกรรมการระดมเงินทุนและการกระจายเงินทุนของสถาบันการเงินในประเทศ ตลอดจนบทบาทของสถาบันการเงินต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยใช้กรณีศึกษาของไทย
ศฐ 462 ทฤษฎีและนโยบายการเงิน 3(3-0-6)
ศึกษาแบบจาลองต่างๆของทฤษฎีการเงิน, บทบาทของธนาคารกลางและธนาคารพาณิชย์ที่มีต่อตัวแปรทางการเงิน กลไกการส่งผ่านของนโยบายการเงินไปสู่ระบบเศรษฐกิจ ตลอดจนการประสานกันระหว่างนโยบายการเงินกับนโยบายการคลังเพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ศฐ 463 หลักการลงทุน 3(3-0-6)
ศึกษาความหมายของหลักทรัพย์ประเภทต่างๆในตลาดการเงิน ความสัมพันธ์ระหว่างความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการตัดสินใจเลือกลงทุนในหลักทรัพย์ประเภทต่างๆ ตลอดจนศึกษาเทคนิคการวิเคราะห์การลงทุน
ศฐ 464 ทฤษฎีตลาดทุนและตลาดเงิน 3(3-0-6)
ศึกษาถึงบทบาทและหน้าที่ของตลาดทุนและตลาดเงินในระบบเศรษฐกิจ อุปสงค์และอุปทานของเงินทุน ลักษณะและบทบาทของหลักทรัพย์ประเภทต่างๆในตลาดทุนและตลาดเงิน ทฤษฎีการกาหนดอัตราดอกเบี้ยและราคาหลักทรัพย์ หลักเกณฑ์ในการตัดสินใจลงทุน ตลอดจนนโยบายการเงินการคลัง โดยเน้นศึกษาตลาดทุนและตลาดเงินในประเทศไทย
ศฐ 471 การค้าระหว่างประเทศ 3(3-0-6)
ศึกษาทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศตั้งแต่กลุ่มคลาสสิก นีโอคลาสสิกเฮกเชอร์-โอห์ลิน ทฤษฎีการค้าแนวใหม่ และกลุ่มอื่นๆ ศึกษานโยบายการค้าระหว่างประเทศที่ครอบคลุมการวิเคราะห์นโยบาย มาตรการทางการค้าระหว่างประเทศ การรวมตัวทางการค้า การลงทุนระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจกับ ปัญหาการค้าระหว่างประเทศ โดยใช้กรณีศึกษาประเทศกาลังพัฒนา
ศฐ 472 การเงินระหว่างประเทศ 3(3-0-6)
ศึกษาดุลการชาระเงินระหว่างประเทศ กลไกการปรับตัวของความไม่สมดุลในดุลการชาระเงินภายใต้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบต่างๆ ระบบเงินตราต่างประเทศ และการกาหนดอัตราแลกเปลี่ยน การเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ บทบาทและผลของการบริหารจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ การเงินระหว่างในโลกการค้าสมัยใหม่ต่อเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ผลกระทบที่มีต่อเศรษฐกิจของประเทศใหญ่และประเทศเล็ก
ศฐ 473 การลงทุนระหว่างประเทศ 3(3-0-6)
บทบาทและความสาคัญของการลงทุนระหว่างประเทศและบรรษัทข้ามชาติต่อเศรษฐกิจภายในประเทศและเศรษฐกิจโลก ทฤษฎีที่อธิบายพฤติกรรมของการลงทุน รวมทั้งการกาหนดค่าจ้างและการบริหารทรัพยากรบุคคล โครงสร้างตลาด การดาเนินธุรกิจ และผลการดาเนินงานของบรรษัทข้ามชาติ โดยเน้นผลกระทบต่อธุรกิจและเศรษฐกิจภายในประเทศบทบาทของรัฐและองค์กรระหว่างประเทศต่อการส่งเสริมการลงทุนระหว่างประเทศและบรรษัทข้ามชาติในประเทศกาลังพัฒนา
ศฐ 474 เศรษฐกิจอาเซียน 3(3-0-6)
ศึกษาลักษณะและโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศในกลุ่มอาเซียน บทบาทและผลกระทบของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจที่มีต่อเศรษฐกิจของไทยและนานาประเทศ ตลอดจนแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในอนาคต โดยประเด็นในการศึกษาอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัยของโลกาภิวัตน์
ศฐ 481 เศรษฐกิจไทย 3(3-0-6)
ศึกษาและวิเคราะห์ แนวคิดเศรษฐศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างเศรษฐกิจไทย สาเหตุของการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนนโยบายของการพัฒนาเศรษฐกิจที่เคยมีมาในเชิงลึก รวมทั้งศึกษาแนวคิดทางเลือกใหม่ ที่สาคัญในการพัฒนาประเทศ เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ เศรษฐกิจสีเขียว และแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น
ศฐ 482 เศรษฐมิติขั้นสูง 3(2-2-5)
ศึกษาวิธีของตัวแปรเครื่องมือ (IV) รวมทั้งแบบจาลองที่มีความล่าช้า ระบบสมการเกี่ยวเนื่อง ตลอดจนวิธีการประมาณค่าแบบกาลังสองน้อยที่สุด 2 ขั้นตอน (2SLS) ศึกษาความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพในระยะยาวและกลไกการแก้ไขการเสียดุลยภาพในระยะสั้น ตลอดจนแบบจาลอง VAR รวมทั้งการฝึกใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาเชิงประจักษ์
ศฐ 483 เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม 3(3-0-6)
ศึกษาบทบาทและความสาคัญของภาคอุตสาหกรรมที่มีต่อระบบเศรษฐกิจ หลักเกณฑ์ในการตัดสินใจลงทุนของหน่วยผลิตในอุตสาหกรรมต่างๆ นโยบายของรัฐในการพัฒนาอุตสาหกรรม การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน การเงินในภาคอุตสาหกรรม อานาจการผูกขาดในภาคอุตสาหกรรมและผลกระทบของโลกาภิวัตน์ที่มีต่อภาคอุตสาหกรรม
ศฐ 484 การจัดการองค์กรอุตสาหกรรม 3(3-0-6)
ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ที่ใช้ในการจัดการอุตสาหกรรม ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างของอุตสาหกรรมกับพฤติกรรมของหน่วยผลิต การดาเนินงานอุตสาหกรรมภายใต้ตลาดในลักษณะต่างๆ และนโยบายรัฐบาลที่เกี่ยวข้อง
ศฐ 485 เศรษฐศาสตร์การเมือง 3(3-0-6)
ศึกษาประวัติศาสตร์การเมืองเศรษฐกิจ และวิวัฒนาการแนวคิดของนักเศรษฐศาสตร์การเมืองที่สาคัญในยุคต่าง ๆ ตั้งแต่การปฏิวัติอุตสาหกรรม พัฒนาการเศรษฐกิจท่ามกลางการต่อสู้ การแบ่งแยกชนชั้น ศึกษาเศรษฐกิจในเชิงโครงสร้างโดยพิจารณาปัจจัยทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งบทบาทของสถาบันทั้งที่เกี่ยวข้องกับการกาหนดนโยบายเศรษฐกิจ และสถาบันการเมืองอื่นๆ
ศฐ 486 หัวข้อสาคัญทางเศรษฐศาสตร์ 3(3-0-6)
ศึกษาประเด็นเศรษฐศาสตร์สาคัญที่เกิดขึ้นในปัจจุบันทั้งในระดับประเทศหรือระดับนานาชาติ ภายใต้การดูแลของอาจารย์ผู้สอน
ศฐ 487 เศรษฐกิจรายประเทศ 3(3-0-6)
ศึกษาลักษณะและโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศที่มีบทบาทโดดเด่นในโลก บทบาทและผลกระทบที่มีต่อเศรษฐกิจของไทยและประเทศที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในอนาคต โดยประเด็นในการศึกษาอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย
ศฐ 488 ปัญหาพิเศษเกี่ยวกับเศรษฐกิจปัจจุบัน 3(2-2-5)
สัมมนาและวิเคราะห์ปัญหาหรือปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจที่ส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของสังคมในปัจจุบันโดยประเด็นในการศึกษาอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย